เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
ความหมายของมัลติมีเดีย
มัลติมีเดีย (Multimedia) หรือสื่อประสม เปนการนําสื่อหลายๆประเภทมาผสมผสานใชงานรวมกนซั ึ่ง
อาจประกอบไปดวยขอความ ภาพกราฟกเสียงพูด เสยงดนตร ี ีภาพวิดีโอหรือภาพเคลื่อนไหวการนําเสนอขอมูล
ในรูปแบบมัลติมีเดียจะชวยสรางความสนใจแกผูดูนาติดตาม ไมนาเบื่อ สามารถโตตอบการใชงานไดงายขึ้น
และมีความบนเท ั ิง ดังนั้น จึงไมใชเรื่องนาแปลกที่การนาเสนอข ํ อมูลตางๆในยุคปจจุบันลวนนําเสนออยในู
รูปแบบมัลติมีเดียแทบทงสั้ ิ้น
ตัวอยางเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
• ความสามารถของโปรเซสเซอรที่สามารถประมวลผลขอมูลอยางรวดเร็วเพื่อรองรบการค ั ํานวณดาน
คอมพิวเตอรกราฟกที่มีความซับซอน
• หนวยความจําในคอมพิวเตอรมีความเรวส็ ูงขึ้น และเพิ่มขยายไดมากขึ้น
• การดแสดงผลที่ชวยใหการแสดงผลภาพไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการแสดงผลสูงเชน
การดแสดงผลที่ผนวกคุณสมบัติการแสดงผลภาพสามมิติหรือภาพ 3D รวมถึงการบรรจุหนวยความจาและ ํ
โปรเซสเซอรลงบนการดแสดงผล
• จอภาพขนาดใหญและมประส ี ิทธิภาพสูงในการแสดงภาพ
• การดเสียงและลําโพงที่ทําใหระบบเสียงสมบูรณแบบ เทียบไดกับเครื่องเสียงราคาสูง
• อุปกรณจัดเก็บขอมูลตางๆมีขนาดความจุสูงขึ้นเพื่อรองรับขอมูลมลตั ิมีเดียเชนฮารดดิสกซีดีรอมดีวี
ดีรอม การดหนวยความจําเปนตน
• เทคโนโลยีระบบเครือขายที่มีอัตราการถายโอนขอมูลดวยความเร็วสูงเชน การแสดงขอมูลในลักษณะ
มัลติมีเดียผานเครือขายอินเตอรเน็ตหรือตามเว็บเพจตางๆ การถายทอดขาวผานอินเตอรเน็ต เปนตน
• โปรแกรมซอฟตแวรที่ใชเปนเครื่องมือจัดการเกี่ยวกับภาพและมัลติมีเดียตางๆเชน โปรแกรม
Photoshop, Toolbook, Authorware และ Flash เปนตน
• อุปกรณสื่อสารตางๆเชนโทรศัพทมือถือมีการพฒนาเทคโนโลย ั ีดวยการผนวกฟงกชันการทางานท ํ ี่มา
กกวาโทรศพทั มือถือทวๆั่ ไป ฯลฯ
แสดงใหเห็นไดวาเทคโนโลยีมัลติมีเดียกอใหเกิดนวัตกรรมใหมๆขึ้นมากมายอุปกรณบางอยางเปนไป
ไดหลายๆอยางเชน โทรศัพทมือถือในปจจุบัน ใชวาจะใชงานเพยงต ี ิดตอเพื่อพูดคุยกันเทานั้น แตไดผนวกฟงก
ชันที่รองรับเทคโนโลยีมัลติมีเดียไว
คุณภาพของภาพดิจิตอล(Digital Image Quality)
คุณภาพของภาพดิจิตอลสามารถพจารณาได ิ จากสิ่งตอไปนี้
1. ความละเอียด (Resolution)
ความละเอยดจะแสดงถ ี ึงความชัดของภาพภาพที่มีความละเอียดสูงจะมีจํานวนหรอพื ิกเซลที่เรียงชิดกัน
มากเพื่อใหภาพนั้นมีความละเอียด ราบเรียบยิ่งขึ้น ไมมีลักษณะแบบแตกกระจายและโดยทวไปค ั่ าที่ใชวัด-35-
รูป เปรียบเทยบความละเอ ี ียดของภาพ
2. ระดับความลึกของสี(Bit Depth)
ระดับความลกของส ึ ีคือจุดสีที่ใชแทนจํานวนสีที่สามารถแสดงไดในหนงพึ่ กเซล ิ เชน กรณีภาพขาวดํา
หากมีความลกของส ึ ีเพยงี 1 บิตนั่นหมายถึงในแตละบิตจะมีคาเพยงี 0 หรือ 1 เทานั้น (ขาวและดํา) ดังนนจะไม ั้
มีสีเทา สีเทาออน หรือสีเทาเขม แตถาหากคาระดับความลึกของสีมีขนาด 8 บิตหรือ 1 ไบตก็จะสามารถแสดง
สีสันไดมากขึ้น โดยสามารถแสดงความแตกตางของสีใหมีความแตกตางกนได ั ถึง 256 สี(2
8
)แตอยางไรก็ตาม
ระดับความลกของส ึ ีที่มีจํานวนบิตสูงมากๆเชน คาระดับความลึกของสีที่ 24 บิต ซึ่งสามารถกําหนดสีใหมีความ
แตกตางกนได ั มากถึง 16 ลานสีแตดวยสายตาของมนุษยโดยปกติก็คงไมสามารถแยกแยะสีเหลานั้นใหมีความ
แตกตางกนได ั มากมายขนาดนั้น
3. เทคนิคการบีบอัดไฟลภาพ(Compression Techniques)
ความคมชัดของภาพจะขึ้นอยูกับฟอรแมตของรูปภาพแตละชนิด โดยปจจุบันไดมีฟอรแมตหรือสกุล
ภาพตางๆหลายสกุลดวนกนให ั เลือกใชงาน ภาพแตละสกุลจะมีเทคนิคการบีบอัดไฟลใหมีขนาดเล็กลงดวย
เทคนิคที่แตกตางกนตามแต ั ละวัตถุประสงคซึ่งรวมถึงคาระดับความสึกของสี (Bit Depth) ที่แทนจํานวนสีที่
สามารถแสดงไดในหนงพึ่ กเซลด ิ วย โดยปกติเทคนิคการบีบอัดภาพจะมีอย 2 ู เทคนิคดวยกนคั ือ
• เทคนิคการบีบอัดขอมูลแบบไมสูญเสีย(Lossless Compression)
ทําใหภาพไมบิดเบือนหรือผิดเพี้ยนไปจากเดิม กลาวคือจะไมทําใหสูญเสียคุณภาพจากภาพตนฉบับ
• เทคนิคการบีบอัดขอมูลแบบสูญเสีย (Lossy compression)
ภาพที่ผานการบีบอัดแลวมีบางสวนที่ตองสูญเสียไปหรือบิดเบือนไปจากตนฉบับบางแตก็ยังคงคุณภาพที่พอรับ
ได (อัตราสวน 10 : 1 ถึง 40 : 1 ) ดวยเทคนิคนี้จะทาให ํ ภาพที่ไดมีขนาดไฟลที่เลกลงกว ็ าเดิมอยางเหนได ็ ชัดทําให
ไมตองสิ้นเปลองเน ื ื้อที่การจัดเก็บ-36-
รายละเอียดคณสมบ ุ ัติของฟอรแมตภาพสกุลตางๆ ที่นิยมใชมีดังตอไปนี้
• ฟอรแมตภาพ BMP (Bitmap)
เปนฟอรแมตมาตรฐานของระบบปฏิบัติการวินโดวสความละเอียดและความคมชัดของภาพคอน
ขางดีโดยสามารถเลือกใชระดับความลกได ึ ตั้งแต 1 ถึง 24 บิตสวนขอเสียของฟอรแมตภาพนี้คือไฟลมีความจุสูง
• ฟอรแมตภาพ JPG (Joint Photographic Experts Group: J-PEG)
เปนฟอรแมตภาพที่นิยมใชกันมากใชเทคนิคการบีบอดขั อมูลแบบสูญเสียโดยใชอัตราสวนตั้งแต
10:1 จนถึง 50: 1 ไฟลภาพ JPG มีคุณภาพดีมีระดับความลึกของสีสูงถึง 24 บิต และมีขนาดความจุต่ํา ดังนั้นจึง
มักนาไปใช ํ ในการบันทึกภาพถายตางๆโดยหากมีการใชเทคนิคการบบอี ัดไฟลไมเกิน 75% จากภาพตันฉบับ
หากมองดวยสายตาแลวจะไมมีความแตกตางกบฟอร ั แมตภาพของ TIF หรือ BMP เลยและขนาดความจุก็ยังต่ํา
กวาอีกดวย
• ฟอรแมต GIF (Graphics Interchange Format)
มักนําไปใชบนอินเตอรเน็ตเนื่องจากมีขนาดไฟลเล็ก อีกทงยั้ งมั ีคุณสมบัติในการกําหนดพื้นหลัง
ของภาพเปนแบบโปรงใส (Transparent Color) รวมทั้งภาพเคลื่อนไหวตางๆแตภาพฟอรแมต GIF นี้ไมควร
เปนภาพที่มีความละเอียดและสีสันมากๆเนื่องจากคุณสมบัติของฟอรแมตภาพ GIF นั้นจะมีคาความละเอียดต่ํา
และมีระดับความลกของส ึ ีเพียง 8 บิต (256 สี) เทานั้น
• ฟอรแมตภาพ PNG (Portable Network Graphics)
เปนฟอรแมตภาพทมาใหม ี่ โดยไดนําคุณสมบัติเดนของฟอรแมตภาพของ JPG และ GIF มารวม
เขาไวดวยกนั มีระดับความลึกของสีสูงถึง 24 บิต และสามารถกําหนดพื้นหลังเปนแบบโปรงใสเชนเดียวกับฟอร
แมตภาพของ GIF ไดแตอยางไรก็ตามฟอรแมตภาพดังกลาวก็เริ่มมีการนําไปใชบางแตก็ยังไมเปนที่นิยมเทาใดนัก
นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการบบอี ัดขอมูลแบบ MPEG (Moving Picture Exports Group) ที่ใชกับคอมพิวเตอรดวย
การใชเทคนิคการบีบอัดขอมูลแบบสูญเสียโยมักใชกับไฟลประเภทมัลติมีเดียที่มีทั้งภาพและเสยงี โดย MPEG
จะทําการเลอกบ ื ีบขนาดภาพที่มีความซ้ําซอนกนโดยคงไว ั เพียงภาพที่มีการเปลี่ยนแปลงเทานั้น จึงทาให ํ
สามารถบีบอดขั อมูลไดในอัตราสวนตั้งแต 50: 1 ถึง 200 : 1 ดวยเหตุนี้จึงทําใหสามารถบันทึกภาพยนตรหรือ
วิดีโอซีดีหนึ่งเรื่องลงในแผนซีดีไดโดย MPEG มีมาตรฐานตางๆ ดังตอไปนี้
• MPEG-1 (ISO 11172)
เปนเทคโนโลยีการบีบอัดขอมูลเสียงและวิดีโอ (Digital Audio/Video) ซึ่งเปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลา
โดยเฉพาะ MP3 ซึ่งคําวา MO3 นั้นเปนคํายอโดยยอมาจากคําเต็มวา MPEG-1 Layer 3
• MPEG-2(ISO13818)
เปนเทคโนโลยีการบีบอัดขอมูลที่ใชกับการแพรภาพทีวีและดีวีดี(Digital TV and DVD)
• MPEG-4 (ISO 14496)
เปนเทคโนโลยีการบีบอัดขอมูลแบบออบเจ็กต(Objected-Based Coding)
4. การใชเทคนิคตกแตงภาพ(Image Enhancement Techniques)
ในบางครั้งเราอาจจาเปํ นตองพงพาเคร ึ่ ื่องมือหรือซอฟตแวรชวยในการตกแตงภาพตนฉบับใหคมชัดยิ่งขึ้น ซึ่ง
โปรแกรมตกแตงภาพที่นิยมใชคือโปรแกรม Photoshop -37-
5. อุปกรณอื่นๆ ที่ชวยใหมีประสิทธิภาพสงขู ึ้น (Equipment Used and its Performance)
นอกจากนี้แลวก็ยังมีอุปกรณหรือฮารดแวรตางๆ ที่จะชวยใหการนําเสนอภาพใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น
เชนการดจอภาพ จอภาพ โดยการดจอภาพเปนอุปกรณที่สําคัญชิ้นหนงทึ่ ี่ทําใหสามารถกาหนดจ ํ ํานวนสีและ
ความละเอยดเท ี าใด ดังนนจะเห ั้ นได ็ วาหากผูที่นิยมใชคอมพิวเตอรมาใชงานดานการออกแบบหรือเลนเกมสนั้น
มักเลือกใชการดจอภาพที่มีประสิทธิภาพสูงกันทงสั้ ิ้น ซึ่งจะทําใหแสดงภาพไดสมจริงหรือเปนระบบสามมิติ
นอกจากนี้ชิปประมวลผลภายในการดและหนวยความจําบนการดจอก็จะชวยใหการประมวลผลภาพตางๆ มี
ความรวดเร็วขึ้น สวนจอภาพก็ควรใชจอภาพที่มีขนาดใหญในกรณีใชงานดานการออกแบบกราฟกและหากตอง
การภาพที่สวยงาม คมชัด จอภาพแบบแอลซีดีก็เปนทางเลือกหนึ่งที่นาสนใจ
สื่อจัดเก็บขอมูล
ความหมายของสื่อจัดเก็บขอมูล
สื่อจัดเก็บขอมูลเปนสื่อ (Media) ที่ใชสําหรับจัดเก็บขอมูล ชุดคําสั่งและสารสนเทศอื่นๆซึ่งถือเปน
หนวยความจาสํ ํารอง (Secondary Storage) กลาวคือ หนวยความจาหล ํ ักของคอมพิวเตอรนั้นจะเปนหนวย
ความจาแบบช ํ ั่วคราว (Volatile Memory) ขอมูลจะสูญหายหมดหากปราศจากกระแสไฟเลี้ยง ดังนั้น ขอมูล
สําคัญตางๆจึ่งจําเปนตองมการจ ี ัดเก็บไวบนหนวยความจําถาวร (Nonvolatile Momory) กอนทจะท ี่ ําการป
ดเครื่องเพื่อจะไดนําขอมูลที่เก็บลงในสื่อนั้น นําไปใชงานในวนขั างหนาไดโดยสื่อตางๆใชสําหรบจั ัดเก็บขอมูล
นั้นตองใชควบคูกับอุปกรณขับที่ใชกับสอสื่ ิ่งนั้น เชน ฟลอปปดิสกก็จะใชควบคูกับฟลอปปดิสกไดรฟ จึงสามารถ
ทําการอานหรอเขื ียนขอมูลบนดิสเกตตไดหรือแผนซีดีก็ตองใชคูกับเครื่องอานซีดีเปนตน และความจริงสื่อเก็บข
อมูล สามารถเรียกชื่อไดหลายชื่อดวยกัน ซงลวนแตมีความหมายเดียวกัน เชน Secondary Storage , Auxillary
Storage, Permanent Storage หรือ Mass Storage
ปจจุบันมีสื่อจดเกั ็บขอมูลหลายๆ ประเภทดวยกันใหเลือกใชงานตามความเหมาะสม การพิจารณา
วาจะใชสื่อใดเปนอุปกรณจักเก็บขอมูล สามารถพจารณาได ิ จากหลายปจจัยดวยกัน เชน ตนทุน ขนาดความจุและ
ความเร็วในการเขาถึงขอมูล อยางไรก็ตาม เทคโนโลยีของสื่อจัดเก็บขอมูลในปจจุบันไดพัฒนาขึ้นมากโดย
เฉพาะแผนซีดีหรือแผนดีวีดีที่ทําใหสามารถจุขอมูลไดสูงขึ้น ก็เพื่อรองรับขอมูลในยคปุ จจุบันที่มีหลายรูปแบบ
โดยเฉพาะขอมูลในรูปแบบของมัลติมีเดียที่ไดกลาวไปแลวขางตน ดังนั้นสื่อจัดเก็บขอมูลอยางดสเกตต ิ ในปจจุบัน
จึงเริ่มเสื่อมความนยมลง ิ เพราะจุขอมูลไดนอยนั่นเอง
ชนิดของสื่อจัดเก็บขอมูล
เทคโนโลยีของอุปกรณจัดเก็บขอมูล สามารถจัดแบงออกเปน 2 ชนิดดวยกัน คือสื่อจัดเก็บขอมูลที่ใชเทคโนโลยี
แบบแมเหล็ก (Magnetic Storage)และสื่อจัดเก็บขอมูลที่ใชเทคโนโลยีดวยแสง (Optical Storage) ซึ่งสื่อ
จัดเก็บขอมูลสวนใหญมักจะเปนลักษณะใดลักษณะหนงในส ึ่ องชนิดนี้แตก็มีสื่อจัดเก็บขอมูลบางชนิดที่ใช
เทคโนโลยีทั้งสองรวมกนคั ือเปนทงแบบแม ั้ เหล็กและแสงเชน Magneto-Optical Disk ซึ่งรายละเอียดสื่อ
จัดเก็บขอมูลชนิดตางๆ
• สื่อจัดเก็บขอมูลแบบแมเหล็ก (Magnetic Storage)
สื่อจัดเก็บขอมูลแบบแมเหล็ก คือสื่อจัดเก็บขอมูลที่ใชเทคโนโลยีแมเหล็ก (Magnetic) ซึ่งประกอบดวย-38-
- ฟลอปปดิสก (Floppy Disks/Diskettes)
ฟลอปปดิสกหรือดิสกเกตตเปนดิสกแบบออนที่ทําจากแผนไมลารและเคลือบดวยสารแมเหล็กบางๆ ทั้ง
สองดาน มีขนาดตั้งแต 8 นิ้ว, 5.25 นิ้วและ 3.5 นิ้วตามลําดับ โดยดิสกเกตตที่ยังคงนิยมใชกันจนถึงปจจุบันนี้คือ
ขนาด 3. 5 นิ้วซึ่งดิสกเกตตขนาดดังกลาวจะมีอยสองความจ ู ุดวยกนคั ือขนาดความจุ 720 กิโลไบตและ 1.44 เม
กะไบตปจจุบันที่ยังคงนิยมใชอยูคือขนาดความจุที่ 1.44 เมกะไบตอยางไรก็ตามดิสกเกตตขนาด 3.5 นิ้วนี้ก็ยังมี
ขนาดความจุ 2.88 เมกะไบตแตไมไดรับความนิยมเทาที่ควรซึ่งหากมีความจาเปํ นตองการใชงานดิสกที่มีความ
จุสูงกวา 1.44 เมกะไบตสวนใหญมักนยมใช ิ ดิสกชนิดความจุสูงอยาง Zip Disk หรือ Jaz Disk มากกวา
รูป ฟลอปปดิสกขนาด 5.25 นิ้ว
รูป ฟลอปปดิสกขนาด 3.5 นิ้ว
การฟอรแมตแผนดิสกสรางเซกเตอร (Sector) และแบงสวนของแตละแทร็กใชเปนชองจัดเก็บขอมูล
โดยแตละเซกเตอรก็สามารถจัดเก็บขอมูลไดมากถึง 512 ไบตอีกทั้งการใชงานฟลอปปดิสกนี้จําเปนตองมี
อุปกรณขับเคลื่อนแผนดิสกที่ใชสําหรับอาน/บันทกขึ อมลลงบนแผ ู นดิสกที่เรียกกวาเครื่องขับดิสกหรือฟลอปป
ดิสกไดรฟ (Floppy Disk Drive) -39-
รูป แตละแทร็กบนแผนฟลอปปดิสกจะถูกแบงดวยเซ็กเตอรเพอใช ื่ จัดเก็บขอมูล
รูป ฟลอปปดิสกไดรฟ (Floppy Disk Drive)
- ดิสกความจุสูง(High-Capacity Floppy Disks)
นอกจากดิสเกตตธรรมดาที่นิยมใชกันซงมึ่ ีความจเพุ ียง 1.44 เมกะไบตแลว สื่อบันทกขึ อมูลที่มีลักษณะ
เชนเดียวกับ ดิสเกตตที่สามารถจัดเก็บขอมลได ู สูงที่นิยมใชกัน เชน Super Disk, Zip Disk และ Jaz Disk โดย
Super Disk มีความจุขนาด 120 เมกะไบตสวน Zip Disk มีความจุขอมูลที่ 100 เมกะไบตและ 250 เมกะไบต
ในขณะที่ Jaz Disk นั้นสามารถจัดเก็บขอมูลไดถึง 1 กิกะไบตและ 2 กิกะไบต
- ฮารดดิสก (hard Disks)
ฮารดดิสกเปนสื่อจัดเก็บขอมูลที่นิยมใชกันมากเนื่องจากมีความจุสูงและปจจับันมความจ ี ุสูงมากกวา 50 กิ
กะไบตอีกทงยั้ ังมีราคาที่ไมแพงและจัดเปนสื่อจัดเก็บขอมูลหลักที่จําเปนตองมีในเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อ
จัดเก็บขอมูลสําคัญตางๆเชน โปรแกรมระบบปฏิบัติการแอพพลิเคชนโปรแกรมรวมถ ั ึงขอมูลหรือสารสนเทศ
ตางๆ
รูป ฮารดดิสก-40-
ลักษณะการทํางานของฮารดดิสกจะคลายคลึงกับฟลอปปดิสกแตภายในตัวฮารดดิสกไดรวมหวอั าน/บันทึก
และจานแมเหล็กอยูภายในตัวเดียวกัน ดั้งนนเราจ ั้ ึงสามารถเรียกชื่อฮารดดิสกไดทั้งฮารดดิสกหรือฮารดไดรฟ
(Hard Drive) โดยโครงสรางภายในฮารดดิสกจะประกอบดวยแพลตเตอร (Platters) ซึ่งคลายกับแผนดิสกแตจะ
ทําดวยแผนอลูมิเนียมแข็งทเคล ี่ ือบดวยออกไซดของเหล็กและจะมีอยูหลายแพลตเตอรดวยกัน แตละแพลต
เตอรจะเรียงอยูบนแกนเดียวกันที่เรียกวา spindle ทําใหแพลตเตอรแตละแผนสามารถหมนไปได ุ พรอมๆกัน
ดวยมอเตอรขับเคลื่อนที่มีความเรวระหว ็ าง 3600-7200 RPM (Round Per Minute: RPM(รอบตอนาที)) แตละ
หนาของแผนจานจะมีหัวอานเขียนประจาเฉพาะ ํ โดยหวอั านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคลายหวีสามารถเคลื่อน
เขาออกระหวางแทร็กตางๆอยางรวดเร็ว ฮารดดิสคจะบรรจุอยูในกลองโลหะปดสนิท เพื่อปองกนสั ิ่งสกปรก
หลุดเขาไปภายใน ซึ่งถาตองการเปดออกจะตองเปดในหองเรียก clean room ที่มีการกรองฝนละออกจาก ุ
อากาศเขาไปในหองออกแลว
รูป โครงสรางภายในฮารดดิสกและไซลินเดอร
รูป แสดงแผนจาน แกนหมุน Spindle หัวอานเขียน และกานหวอั านเขียน
แตละหนาของแพลตเตอรที่วางเรียงซอนกนนั ั้น จะมีหัวอานบนทั กทึ ี่สามารถเคลื่อนทเขี่ าออกไปยังแทรกตางๆ
ที่ตองการและเนื่องจากฮารดดิสกมีจํานวนจานดิสกหรือแพลตเตอรหลายแผนเรียงซอนกันดังนั้นการอางองติ ํา
แหนงจึงอางองติ ําแหนงแทร็กเดียวกนในแต ั ละแพลตเตอรที่เรียกวาไซลินเดอร(Cylinder) -41-
สําหรับหัวอาน/บันทึก (Read/Write Heads) ที่อยภายในฮาร ู ดดิสกนั้น จะมีจํานวนมากกวาหนึ่งหัวอาน/บันทึก
ซึ่งโดยปกติฮารดดิสกสวนใหญมักจะมีอย 6 ู แพลตเตอรดั้งนนจะม ั้ ีจํานวนหนาทงสั้ ิน 12 หนาดวยกันแตหัวอาน/
บันทกทึ ี่มีอยภายในจะม ู ีอยเพู ียง 11 หัวอาน/บันทกเท ึ านั้น เนื่องจากแผนสุดทายดานลางสุดจะไมไดถูกใชงาน
ชนิดของฮารดดิสก
ชนิดของฮารดดิสกโดยปกตจะม ิ ีอย 2 ู ชนดดิ วยกัน คือ
- ฮารดดิสกแบบ EIDE (Enhances Integrates Drive Electronics)
คอนโทรลเลอร EIDE สามารถเชื่อมตออุปกรณได 4 ชิ้น โดยที่ฮารดดิสกแตละตัวที่เชอมต ื่ อบนคอน
โทรลเลอรชนดนิ ี้จะมีความจุไดสูงสุด 137 กิกะไบตตอหนงตึ่ ัวการโอนถายขอมูลจะมีอัตราที่ 66 เมกะไบตต
อวินาทีแตดวยเทคโนโลยฮาร ี ดดิสกแบบ EIDE นี้ไดพัฒนาความเร็วอยางตอเนื่องเชน Ultra DMA,
ATA/66,ATA/100,ATA/133 (หมายเลขตอทายคือ Throughput สูงสุดที่มีหนวยเปนเมกะไบตตอวนาท ิ ีเชน
ATA/133 จะมี Throughput สูงสุดที่ 133 เมกะไบต/วินาที) ฮารดดิสกแบบ EIDE เปนฮารดดิสกที่มีกลมผุ ูใชงาน
มากที่สุด และมักนามาใช ํ งานกับเครื่องพีซีทั่วไป เนื่องจากมีราคาถูกและมีความจุสูง
รูป ฮารดดิสกแบบ EIDE
- ฮารดดิสกแบบ SCSI (Small Computer System Interface)
คอนโทรลเลอร SCSI สามารถเชื่อมตออุปกรณได 7 อุปกรณดวยกันโดยการเชื่อมตอจะเปนในลักษณะของลูกโซ(Daisy Chain) ฮาร
ดดิสก SCSI นี้ถูกออกแบบมาเพื่อใชงานบนเครื่องเซิรฟเวอรที่คอยบริการขอมูลใหกับผูใชงานหลายๆ คนบนเครือขาย ซึ่งเนนที่ความทนทานตอการ
ใชงานหนักและมีความรวดเร็วสูงโดยมีความเร็วในการถายโอนขอมูลไดสูงถึง 160 เมกะไบตตอนาทีหรือมากกวาอีกทั้งยังมีความจุสูงแตมีราคาที่สู
งกวาแบบ EIDE -42-
รูป ฮารดดิสกแบบ SCSI
การพจารณาความเร ิ วของฮาร ็ ดดิสก
สามารถพิจารณาไดจาก
- เวลาคนหา(Seek Times) คือเวลาที่แขนของหัวอาน/บันทึกเคลื่อนที่ไปยังแทร็กหรือไซลินเดอรที่
ตองการโดยมหนี วยวัดความเร็วเปนมิลลิวินาที(Millisecond)
- เวลาแฝง (Rotation Delay or Latency Time) คือเวลาที่ตําแหนงขอมูลที่ตองการในแตละแทร็กห
มุนมายงตั ําแหนงของหัวอาน/บันทึกเพื่อที่จะทําการถายโอนขอมูลไปยังหนวยความจําหลักโดยมีหนวยวัด
ความเร็วเปนมิลลิวินาที
- เวลาเขาถึง (Access Time) คือเวลารวมของเวลาคนหาและเวลาแฝง(Seek Time + Latency Time)
- เวลาถายโอนขอมูล ( Transfer Time) คือเวลาการถายโอนขอมูลระหวางตาแหน ํ งขอมูลบนแทร็ก
นั้นๆไปยังหนวยความจําหลักซึ่งมหนี วยเปนบิตตอวินาทีความเร็วในการถายโอนขอมูลนี้จะขนอย ึ้ ูกับความเร็ว
รอบการหมนของแพลตเตอร ุ ซึ่งมีหนวยเปน RPM รวมถงความหนาแน ึ นของขอมูลในแตละแทร็ก(Track Per
Inch : TPI ) ดวย
• เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape)
เทปแมเหล็กเปนสื่อจัดเก็บขอมูลที่มีความนิยมใชมานาน แตในปจจุบันความนยมของเทปแม ิ เหล็กได
ลดนอยลงไปมากเนื่องจากการเขาถงขึ อมูลเปนไปในลกษณะแบบเร ั ยงล ี ําดับ (Sequential) ซึ่งชากวาแบบ
เขาถึงโดยตรง (Direct Access) อยางแมกเนติกดิสกแตอยางไรก็ตาม เทปแมเหล็กก็ยังคงนิยมใชสําหรับ
จัดเก็บขอมูลสํารองตางๆเนื่องจากเทปแมเหล็กมีความจุสูงและเคลอนย ื่ ายไดงายเมื่อเทียบปรมาณความจ ิ ุกับ
ราคาถือวามีราคาถูกและคมคุ า ปจจุบันเทปแมเหล็กมหลายชน ี ิดดวยกัน เชน เทปแมเหล็กแบบมวนซงมึ่ กใช ั กับ
เครื่องระดับใหญเชน มินิคอมพิวเตอรและเมนเฟรมคอมพิวเตอรนอกจากนี้ก็ยังมเทปแบบตล ี ับคาสเซ็ต
คารทริดจที่มักใชงานบนไมโครคอมพิวเตอรรวมทงเทปชน ั้ ิด DAT เปนตน สวนความเร็วของเครื่องอานเทปจะ
ขึ้นอยูกับอัตราความเร็วในการหมนของม ุ วนเทปซึ่งมกมั ีหนวยวัดเปนนวติ้ อวินาที (Inch Per Second) และอัตรา
ความเร็วในการถายโอนขอมูลซึ่งมหนี วยวัดเปนไบตตอวินาท (Byte Per Second) ี
รูป เทปแมเหล็กชนิดมวนและตลับ
• สื่อจัดเก็บขอมูลชนิดแสง (Optical Storage) -43-
แนวโนมการจัดเก็บขอมูลดวยสื่อจัดเก็บขอมูลที่ใชเทคโนโลยีออปติคัลมีความนิยมสูงขึ้นเปนลําดับ เนื่องจากมี
ความจุสูง ทนทาน และมีราคาถูกและโปรแกรมตางๆในปจจุบันสวนใหญผูผลิตมักนําโปรแกรมมาบันทึกลง
ในแผนซีดีแทบทั้งสิ้น
- ซีดีรอม (Compact Disc Read-Only Memory: CD-ROM)
ภายในซีดีรอมจะแบงเปนแทร็กและเซ็กเตอรเหมือนกับแผนดิสกแตเซ็กเตอรในซีดีรอมจะมีขนาดเทากัน ทุกเซ็ก
เตอรทําใหสามารถเก็บขอมูลไดมากขึ้น เมื่อไดรฟซีดีรอมเริ่มทางานมอเตอร ํ จะเริ่มหมุนดวยความเร็ว หลายคา
ทั้งนี้เพื่อใหอัตราเร็วในการอานขอมูลจากซีดีรอมคงที่สม่ําเสมอทุกเซกเตอร ็ ไมวาจะเปนเซกเตอร ็ ที่อยรอบนอกก ู
หรือวงในก็ตาม จากนนแสงเลเซอร ั้ จะฉายลงซีดีรอม โดยลําแสงจะถูกโฟกัสดวยเลนสที่เคลื่อนตําแหนงไดโดย
การทางานของขดลวด ํ ลําแสงเลเซอรจะทะลุผานไปที่ซีดีรอมแลวถูกสะทอนกลับ ที่ผิวหนาของซีดีรอมจะเปน
หลุมเปนบอ สวนที่เปนหลุมลงไปเรียก "แลนด" สําหรับบริเวณที่ไมมีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิวสองรูปแบบนี้
เราใชแทนการเก็บขอมูลในรปแบบของ ู 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไมสะทอนกลับ แตเมื่อแสงถูกเลนส
จะสะทอนกลบผั านแทงปริซึม จากนนหั้ ักเหผานแทงปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกทีทุกๆชวงของลําแสงที่
กระทบตัวตรวจจับแสงจะกําเนิดแรงดันไฟฟา หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทําใหคอมพิวเตอรสามารถเขาใจไดสวนการ
บันทกขึ อมูลลงแผนซีดีรอมนั้นตองใชแสงเลเซอรเชนกัน โดยมีลําแสงเลเซอรจากหัวบันทกของเคร ึ องบ ื่ ันทึก
ขอมูลสองไปกระทบพนผื้ ิวหนาของแผน ถาสองไปกระทบบริเวณใดจะทําใหบริเวณนั้นเปนหลุมขนาดเล็ก
บริเวณทีไมถูกบันทกจะม ึ ีลักษณะเปนพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผน
รูป เปรียบเทยบโครงสร ี างภายในระหวางดิสเกตตและซีดีรอม-44-
แผนซีดีรอมเปนสื่อในการเกบข็ อมูลแบบออปติคอล (Optical Storage) ใชลําแสงเลเซอรในการอานข
อมูล แผนซีดีรอมทํามาจากแผนพลาสตกเคล ิ ือบดวยอลูมิเนียม เพื่อสะทอนแสงเลเซอรที่ยิงมาเมอแสงเลเซอร ื่ ที่
ยิงมาสะทอนกลับไปที่ตัวอานขอมูลที่เรียกวา Photo Detector ก็อานขอมูลที่ไดรับกลับมาวาเปนอะไรและสงคา
0 และ1 ไปใหกลับซีพียูเพื่อนําไปประมวลผลตอไป
แผนซีดีรอม หนึ่งแผนสามารถจุขอมูลไดประมาณ 600-700 เมกะไบต ขอมูลที่บันทกลงในแผ ึ นซีดีรอม
สามารถเรยกใช ี งานหรืออานไดเพียงอยางเดียว (Read Only)ไมสามารถแกไขขอมูลใดๆได
ความเร็วของไดรฟซีดีรอมมีหลายความเร็วเชน 2x 4x หรือ 16x เปนตนซึ่งคา 2x หมายถงไดรฟ ึ ซีดีรอม
มีความเร็วในการหมุน 2 เทาไดรฟตัวแรกที่เกิดขึ้นมามความเร ี ็ว 1x จะมีอัตราในการโอนถายขอมูล (Data
Tranfer Rate) 150 KB ตอวนาท ิ ีดั้งนนถั้ าไดรฟซีดีรอม ที่มีความเร็ว 50x ก็จะมีอัตราความเร็วในการโอนถายข
อมูลที่ 7500 KBps
- ดีวีดีรอม(Digital Versatile Disc Read-Only Memory:DVD-ROM)
แผนดีวีดีรอมเปนสื่อจัดเก็บขอมูลชนิดหนงทึ่ ี่นิยมนํามาบันทกภาพยนตร ึ เนื่องจากมีความจุสูงมากเมื่อ
เทียบกบแผ ั นซีดีรอม โดยแผนดีวีดีนั้นสามารถบนทั ึกขอมูลไดทั้งสองดาน แตละดานสามารถจุขอมูลไดถึง 4.7
กิกะไบตดังนนความความจ ั้ ุทั้งสองดานกสามารถจ ็ ุขอมูลไดมากถึง 9.4 กิกะไบตและถาหากเปนดีวีดีรอมชนิด
ดูอัลเลเยอร (Dual-Layer) ก็จะสามารถจดเกั ็บขอมูลไดมากถึง 17 กิกะไบตเลยทีเดยวี
แผนดีวีดีรอมนี้ไดถูกออกแบบมาเพื่อใชสําหรับเก็บขอมูลภาพยนตรซึ่งโดยทวไปแล ั่ วมีความยาว
ประมาณ 2 ชั่วโมงการบันทึกขอมูลลงในแผนดีวีดีจะใชเทคโนโลยีการบีบอัดขอมูลที่เรียกวา MPEG-2 สาเหตุที่
แผนดีวีดีรอมสามารถจัดเกบข็ อมูลไดในปริมาณมากทงๆท ั้ ี่มีขนาดเทากับแผนซีดีรอม ก็เนื่องมาจากชองวาง
ระหวางแทรกของแผ ็ นดีวีดีรอมนั้นจะมีขนาดที่เล็กกวาแผนซีดีรอม และรวมถงมึ ีขนาดของรองขอมูลที่เล็กกวาด
วย การลดขนาดของรองเกบข็ อมูลนี้ทําใหความหนาแนนของขอมูลใ นแทรกต็ อความยาวหนงนึ่ วของแผ ิ้ นดีวีดี
รอมจึงมีมากกวาแผนซีดีรอมถึงสองเทาสาหร ํ ับในดานของความเร็วในการถายโอนขอมูลนั้นเครื่องอานดีวีดีรอม
จะมีความเร็วในการถายโอนขอมูลที่สูงกวาเครื่องอานซีดีรอม เพราะความเร็วที่สูงจะทําใหการแสดงผล
ภาพยนตรที่เคลื่อนไหวนั้นแลดูเปนธรรมชาติโดยอัตราความเร็วท 1x (Single Speed) ี่ ของเครื่องอานดีวีดีรอม
จะมีความเร็วในการถายโอนขอมูลที่ประมาณ 1350 KBps ในขณะทเคร ี่ ื่องอานซีดีรอมจะมีความเร็วในการถาย
โอนขอมูลที่ประมาณ 150 KBps เทานั้น และในสวนของระบบเสียงที่บันทกลงในแผ ึ นดีวีดีก็จะมระบบการ ี
บันทกเส ึ ียงที่มีคุณภาพดีกวาแผนซีดีรอม จากขอดีหลายๆอยางของแผนดีวีดีจึงทาให ํ มีราคาสูงกวาแผนซีดี-45-
- ซีดีอาร(Compact Disk Recordable : CD-R) และซีดีอารดับบลิว (Compact Disk Rewritable :
CD-RW)
กระแสการใชงานแผนซีดีรอมที่จําเปนตองมีเครื่องปมแผนซีดีซึ่งมีราคาสูงและมักใชงานทางดานธุรกิจ
หรืออุตสาหกรรมเปนสําคัญลําพงผั ใชู งานทั่วๆไปคงไมสามารถซื้อมาเพื่อใชงานไดดังนนเทคโนโลย ั้ ีซีดีอารจึง
ไดถูกพัฒนาขนเพึ้ ื่อใหผูใชอยางเราๆ สามารถทาการบ ํ นทั ึกขอมูลหรือออดิโอไฟลตางๆ ลงบนแผนซีดีไดดวย
ตนเอง
ซีดีอาร (CD-R) คือแผนบันทึกซีดีที่ผูใชสามารถทําการบันทกขึ อมูลลงในแผนไดหลายครั้งจนเต็มแผ
นและสามารถอานไดหลายครั้งแตการบนทั กขึ อมูลจะไมสามารถทําการบันทึกทับหรือลบขอมูลเดิมที่บันทึกไป
แลวไดสวนคณสมบ ุ ัติในการบันทึกไดหลายครั้งเรียกวามัลติเซสชัน (Multisession)ซึ่งเปนการแบงการบนทั กขึ
อมูลทีละสวนที่เรียกวาเซสซนแต ั ละเซสชันก็จะประกอบดวยหลายๆแทร็กเมื่อเซลชนหน ั ึ่งไดทําการบันทึกขอมูล
ไปเสร็จเรียบรอยแลวโดยพนทื้ ี่บนซีดียังพอมีพื้นที่เหลือพอในการบันทึกขอมูลตอไปไดอีกการบนทั กขึ อมูลใน
คราวตอไปก็จะทําไดดวยการเปดเซสซันตอจากเดิม ซึ่งจะเปนเซลซันที่ตอจากเทร็อกที่ผานการบันทึกมากอน
หนานนเอง ั่
ซีดีอารจะแตกตางกับซีดีรอมตรงดานบนทั ึกขอมูล โดยดานบนทั กขึ อมูลของแผนซดีีอารนั้นจะมีสีฟาอม
เขียวซึ่งเปนสารพิเศษที่ไวตอความรอน โดยตัวหวบั ันทกขึ อมูลเลเซอรในเครื่องบันทึกซีดีนั้นจะทาการเบ ํ ิรนพนผื้ ิว
ดังกลาวในการบันทึกขอมูล
เครื่องอาน/บันทกแผ ึ นซีดีกําลังจะกลายเปนมาตรฐานที่เครื่องคอมพวเตอร ิ พีซีจําเปนตองมีเพราะปจจุ
บันเครื่องดังกลาวมีราคาถูก มีความสะดวกในการบันทกขึ อมูลชนิดมลตั ิมีเดียหรือไฟลขอมูลที่มีขนาดความจุ
มากๆซึ่งแผนซีดีจะมีความทนทานกวาแผนดิสเกตตและเก็บไดระยะยาวนานกวาสําหรับสเปกหรือรายละเอียด
ตัวเลขความเรวท็ ี่ระบุไวบนเครื่องชนิดนี้เชน 40x,12x,48x หมายถึง ความเร็วในการเขียนแผนซีดีอาร
(CD-Recordable) 40 เทา
ความเร็วในการเขียนแผนซีดีอารดับบลิว(CD-Rewritable) 12 เทา
ความเร็วในการอานแผนซีดีทั่วไป 48 เทา
• สื่อจัดเก็บขอมูลชนิดอื่นๆ
นอกจากนี้ยังมีสื่อจัดเก็บขอมูลลชนิดอื่นๆเชน โฟโตซีดี (Photo CD) ซึ่งเปนเทคโนโลยีของบริษัทโกดักที่-46-
ชนิดของหนวยความจําแบบแฟลชจะมีอยูหลายรูปแบบดวยกัน เชนหนวยความจาแบบแฟลชท ํ อยี่ ูในรูปแบบ
ของการดหนวยความจํา (Memory Card) เชน Memory Stick, Compact Flash,Smart Media, SD และ
Multimedia Card สวนขนาดความจุก็มีหลายขนาดใหเลือกใชงาน เชนความจุขนาด 16, 32, 64, 128 หรือ 256
เมกะไบตจนถึงหนวยกกะไบต ิ นอกจากนี้ยังมหนี วยความจาแบบแฟลชท ํ ี่มีอินเตอรเฟส ในรูปแบบยูเอสบี(USB)
ที่สามารถเสียบเขาโดยตรงกับพอรตยูเอสบีในคอมพวเตอร ิ เพื่อใชบันทึก/อาน ขอมูล ซึ่งก็มีชื่อเรียกที่แตกตางกัน
ตามผผลู ิต เชนthumb Drive, Flash Drive หรือ Handy Drive เปนตน
รูป การดหนวยความจําชนิดตางๆ
รูป Flash Drive
• RAID
RAID คืออะไร
RAID ยอมาจากคําวา Redundant Array of (Independent) Inexpensive Disks เปนวิธีการเกบข็ อมูล
ใหกระจายไปในดิสกหลายๆ ตัวเพื่อชวยใหการเพิ่มประสิทธิภาพในการอานและเขยนข ี อมูล หรือเพื่อชวยเพิ่ม
ความนาเชื่อถอในการเก ื บข็ อมูลหรือทงสองอย ั้ างจุดประสงคเบื้องตนของ RAID ในสมัยแรกเริ่มคือการรวบรวม
เอาดิสกขนาดเล็กและราคาไมแพงมาตอเขาดวยกนเพั ื่อใหมีขนาดและความสามารถทดแทนเหมือนดิสกขนาด-47-
รูปแบบของ RAID
- RAID-0
หรือการทํา striping คือขอมูลจะถูกแบงออกเปนหลายๆ สวนเทาๆกัน แตละสวนเรียกวา chunk
กระจายไปยังดิสกหลายๆ ตัวการอานและเขียนขอมูลจะเร็วขึ้นเพราะมีดิสกหลายๆ ตัวชวยกันใหบริการขอมูล
ไดพรอมๆกัน ไมตองรอจากดิสกตัวเดียวอยางไรก็ตาม RAID-0 ไมมีการทําสารองข ํ อมูลในตัวเองเพื่อเพิ่ม
ความนาเชื่อถอของระบบ ื
ประสิทธิภาพในการอานเขียนขอมูลของ RAID-0 จะสูงมากเพราะมการกระจายการท ี ํางานไปยังดสกิ
หลายๆ ตัวแตไมมีการสํารองขอมูลเลย ดังนนเม ั้ ื่อมีดิสกตัวหนึ่งเสียก็จะทาให ํ ขอมูลเสียหายทั้งหมด RAID-0
จึงใชในงานที่ตองการความเร็วสูงมากแตไมตองการความนาเชื่อถือของระบบ
- RAID-1
ถูกเรียกโดยทวไปอ ั่ ีกชื่อหนึ่งวา Disk Mirroring คือการทําสําเนาขอมูลบนดิสกสองชุดหรือมากกวาเพื่อช
วยในการสํารองขอมูลและเพิ่มความนาเชอถื่ ือของระบบ ในการอานขอมูล RAID-1 จะทําการอานขอมูล
จากดิสกชุดใดก็ไดมาใหเพราะขอมูลจะเหมือนกัน แตเมื่อมีการเขียนขอมูลลงในดสกิ RAID-1 จะตองคอย
ตรวจสอบวาขอมูลถูกเขียนอยางถูกตองลงบนดิสกทั้งสองชุด-48-
ประสิทธิภาพในการอานขอมูลของ RAID-1 จะสูงเปนสองเทาของปกติเพราะสามารถอานไดจากดิสก
ชุดใดก็ไดพรอมกัน การสํารองขอมูลจะสมบูรณที่สุดเพราะเก็บขอมูลไวถึงสองชุด ถาดิสกชุดใดเสียก็สามารถใช
ขอมูลจากอีกชุดไดเลยทันทีจึงมีความนาเชื่อถือสูงแตประสิทธิภาพในการเขียนจะลดลงกวาปกติเล็กนอยอยาง
ไรก็ตาม RAID-1 จะสิ้นเปลืองดิสกในการเก็บขอมูลมากเพราะตองเกบข็ อมูลเหมือนกนสองช ั ุด จึงตองใชดิสก
เก็บขอมูลเปนสองเทาแตจะเหมาะกับงานที่ขอมูลสําคัญมากๆเชนงานทางดานการบัญชี
- RAID-2
ขอมูลจะถูก stripe ไปยังดิสกหลายๆ ตัวในระดับ bit และจะใช Hamming Code ECC เปนเทคนิค
สําหรับใชทํา error correction โดยจะตองใชดิสกหนงตึ่ ัวหรือมากกวาเปนที่สําหรับเก็บ Hamming Code ECC
นี้สําหรับการทํางานของ RAID-2 เมื่อมีการเขียนขอมูลลงในดิสก RAID-2 จะคํานวณ ECC ของขอมูลที่อยในู
stripe เดียวกนและเก ั ็บลงใน ECC ดิสกในกรณีที่มีดิสกที่เก็บขอมูลเกดความเส ิ ียหาย RAID ก็จะทําการ
recover ขอมูลไดดวยการ rebuild ขอมูลในดิสกตัวที่เสยไปข ี ึ้นมาใหมจาก ECC
เดิมที RAID-2 ถูกออกแบบมาใชสําหรับดิสกที่ไมมี hardware สําหรบทั ํา error detection แตปจจุ
บันดิสกทุกตัวจะมี hardware นี้อยในต ู ัวแลวจึงทาให ํ RAID-2 ไมไดรับความนิยมอกตี อไป
- RAID-3 -49-
คลายกับ RAID-2 แตขอมูลจะถูก stripe ในระดับ byte และใชฟงกชั่น XOR สําหรับคํานวณหาคา
parity เพื่อทํา error correction สําหรับ RAID-3 นี้จะเสยดี ิสกตัวหนึ่งไวสําหรับเก็บคา parity โดยในระหวางการ
เขียนขอมูล RAID-3 จะใชขอมูลที่อยในู stripe เดียวกนมา ั XOR กันเพื่อหาคา parity แลวเก็บลงใน parity ดิสก
เชน P1 = a XOR b XOR c XOR d ในกรณีที่ดิสกตัวหนึ่งมีความเสียหาย RAID ก็จะทําการ recover ขอมูล
ไดดวยการสรางขอมูลในดิสกตัวที่เสยไปข ี ึ้นมาใหมจากดิสก parity สมมติวาดิสกตัวท 3 ี่ เสียทําใหอานขอมูล c
ไมได RAID สามารถ rebuild ขอมูลที่อยในด ู ิสกตัวที่ 3 โดยอาศัย parity ดังนี้ c = P1 XOR a XOR b XOR d
การเขียนขอมูลของ RAID-3 จะชาลงเพราะตองมีการคํานวณ parity ใหมทําใหตองมีการอาน parity
และขอมูลเดิมขึ้นมาเพื่อใชคํานวณหา parity ใหมแลวจึงสามารถเขียนขอมูลใหมลงไปไดเชนถา c ถูกเปลี่ยน
เปน x จะคํานวณหา parity ใหม (Px) ก็จะตองอาน c และ P1 ขึ้นมาคานวณ ํ Px = P1 XOR c XOR x
RAID-3 จะเปลืองดิสกไปตัวหนงสึ่ ําหรับเก็บ parity และดวยเหตุที่มีดิสกที่ใชเก็บ parity เพียงแคตัว
เดียว ดิสกตัวนี้อาจจะทางานหน ํ ักจนถวงการทางานของระบบได ํ RAID-3 จึงเหมาะสําหรับงานประเภท
single-user ที่ขอมูลมีความตอเนื่องและมีขนาดใหญแต RAID-3 ไมเหมาะกับงาน multi-user ที่มีการเขาถึง
ขอมูลแบบ random เนื่องจาก RAID-3 ทํา stripe ในระดับ byte ทําใหการอานหรือเขียนขอมูลทุกครั้งแมจะเล็ก
เพียงแค block เดียวก็จะตองใชงานดิสกทุกตัวเสมอ
- RAID-4
จะเหมือน RAID-3 แตขอมูลจะถูก stripe ในระดับ block และจะกันดิสกตัวหนึ่งไวเก็บ parity ในกรณี
ที่ดิสกตัวหนงมึ่ ีความเสยหาย ี RAID ก็จะทําการ recover ขอมูลไดดวยการสรางขอมูลในดิสกตัวที่เสียไปขึ้นมา
ใหมจากดิสก parity -50-
RAID-4 มีการคํานวณหาคา parity ที่ใชชวยในการ recover ขอมูล ทําใหการเขียนขอมูลจะชาลงเพราะ
การคํานวณ parity จะตองอานขอมูลและ parity เดิมจากดิสกและดิสกที่ใชเก็บ parity เพียงแคตัวเดียวนี้อาจจะ
ทํางานหนักจนถวงการทํางานของระบบไดทําใหไมเหมาะกับงานที่มีการเขียนพรอมๆกันมากๆอยางไรก็ตาม
RAID-4 มีประสิทธิภาพในการอานสงกว ู า RAID-3 มากเพราะการ stripe ในระดับ block ทําใหการอานขอมูล
block หนงๆึ่ อาจจะอานจากดิสกตัวเดียวไดไมจําเปนตองอานจากทุกตัวเหมือน RAID-3 ทําใหประสิทธิภาพใน
การอานขอมูลจึงเหมือนกับ RAID-0
- RAID-5
ลักษณะการทํางานจะคลายกับ RAID-4 เพียงแต parity จะถูก stripe ไปยังดิสกทุกๆ ตัวดวย
ประสิทธิภาพในการอานขอมูลใกลเคียงกับ RAID-0 มี parity ที่ใชชวยในการ recover ขอมูล การเขียน
ขอมูลจะชาลงเพราะตองมีการคํานวณ parity และเปลืองเนื้อที่ไปเทยบเท ี ากับดิสกตัวหนงสึ่ าหร ํ บเกั ็บคา parity
แตจะไมมี parity ดิสกที่จะทางานหน ํ กเกั นไป ิ RAID-5 จึงเหมาะสาหร ํ บงานประเภท ั multi-user ทั่วๆไป
- RAID-6
การทางานจะเหม ํ ือนกับ RAID-5 แตจะมี parity 2 ชุดกระจายในดิสกทุกตัว-51-
การเขียนขอมูลจะชาลงเพราะตองมีการคานวณ ํ parity ถึง 2 ชุด และเปลืองดิสกเพิ่มขึ้นอีกตัวหนึ่ง
สําหรับ parity ชุดที่สองแตจะทําให RAID-6 สามารถทําการใหบริการขอมูลตอไปไดถึงแมจะมีดิสกเสียพรอมกัน
2 ตัว
- RAID-10
คือการทํา RAID-0 บน RAID-1 หรือ striping บน mirroring
RAID-10 มีการสํารองขอมูลที่สมบูรณและมีประสิทธิภาพในการอานเขียนขอมูลสูงแตจะมีราคาแพง
มากเพราะตองใชดิสกจํานวนมากจึงเหมาะกับงานที่ตองการประสทธิ ิภาพและความนาเชื่อถือของระบบสูงและ
จะตองมีงบประมาณมากดวย
ในปจจุบัน RAID ชนิดที่ 0, 1 และ 5 ถูกนํามาใชอยางแพรหลายการเลือกวาจะใช RAID ชนิดใด จะตอง
เลือกใหสอดคลองกับงานนั้นโดยองคประกอบที่สําคัญที่ตองนํามาพจารณาค ิ ือประสิทธิภาพ, การสํารองขอมูล,
ความนาเชื่อถอของระบบ ื และราคา
x